Head GISDTDA

การรับรู้ภาพลักษณ์ของ GISTDA
แบบสอบถามชุดนี้จัดทำขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงภาพลักษณ์ในปัจจุบันของ GISTDA ในการรับรู้ของกลุ่มประชาชนผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง ซึ่งข้อมูลที่ได้จะเป็นประโยชน์อย่างยิ่งเพื่อประกอบการวางแผนและปรับปรุงกลยุทธ์ในการดำเนินงานขององค์กร ให้เหมาะสมยิ่งขึ้นต่อไป
กรุณาตอบคำถามให้ครบทุกข้อโดยทำเครื่องหมาย / ลงในช่องว่าง หรือกรอกข้อความที่ตรงกับความเป็นจริงมากที่สุดและโปรดส่งกลับคืนภายในวันที่ 30 กรกฎาคม 2566

ส่วนที่ 1 : ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม

1. เพศ
 
 
2. อายุ
 
 
3. ระดับการศึกษา
 
 
4. อาชีพ
 
 
5. ที่อยู่ หรือสถานที่ทำงานในปัจจุบันของท่านตั้งอยู่ในภูมิภาคใด
 
 

ส่วนที่ 2 : การเปิดรับข้อมูลข่าวสารจาก GISTDA

6. ท่านได้รับทราบข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับ GISTDA บ่อยครั้งเพียงใด
 
 
7. ช่องทางใดที่ทำให้ท่านได้รับทราบข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับ GISTDA ได้สะดวกที่สุด (เลือกตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)
 
 
8. ปัจจุบันท่านติดตาม หรือสนใจข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับ GISTDA ประเภทใด (เลือกตอบได้ 3 ข้อ)
 
 

ส่วนที่ 3 : ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดำเนินงานของ GISTDA

9. ท่านเข้าใจว่า GISTDA เป็นองค์กรประเภทใด
 
 
10. ท่านคิดว่า GISTDA เป็นองค์กรที่ทำหน้าที่ในด้านใดเด่นชัดที่สุด (เลือกตอบได้ 1 ข้อ)
 
 
11. ในช่วง 3 ปีที่ผ่านมา ท่านได้มีโอกาสติดต่อ หรือร่วมงานกับ GISTDA หรือไม่
 
 
12. ท่านเคยติดต่อ หรือมีโอกาสร่วมงานกับ GISTDA ในเรื่องใด (เลือกตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)
 
 

ส่วนที่ 4 การใช้ประโยชน์ และความคาดหวังจากนวัตกรรม ผลิตภัณฑ์และบริการของ GISTDA

13. ในปัจจุบันท่าน หรือหน่วยงานของท่านได้มีโอกาสใช้ประโยชน์จากนวัตกรรม ผลิตภัณฑ์และบริการของ GISTDA หรือไม่
 
 
14. ท่านหรือหน่วยงานของท่านมีความสนใจใช้ประโยชน์จากนวัตกรรม ผลิตภัณฑ์และบริการของ GISTDA หรือไม่
 
 
15. ท่านมีความคาดหวังอยากให้ GISTDA ดำเนินงานพัฒนานวัตกรรม ผลิตภัณฑ์และบริการอย่างไร (เลือกตอบได้ 1 ข้อ)
นวัตกรรม ผลิตภัณฑ์และบริการที่สอดคล้องกับความต้องการของสังคมในปัจจุบัน
พัฒนาผลิตภัณฑ์และบริการที่มีศักยภาพเพื่อช่วยลดการพึ่งพาเทคโนโลยีจากต่างประเทศ
 
 

ส่วนที่ 5 ท่านมีความเห็นว่าภาพลักษณ์ของ GISTDA ในด้านใดมีความเด่นชัด มากที่สุด

ประเด็น ระดับความคิดเห็น
เห็นด้วยมากที่สุด เห็นด้วยมาก เห็นด้วย เห็นด้วยน้อย ไม่เห็นด้วย

ด้านองค์กร

1 ) เป็นองค์กรที่มีชื่อเสียงทางด้านการพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศของประเทศ
2 ) เป็นแหล่งข้อมูลทางวิชาการด้านการพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศที่น่าเชื่อถือ
3 ) เป็นองค์กรที่ช่วยสร้าง ส่งเสริม สนับสนุนขีดความสามารถให้กับประเทศด้านการพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมอวกาศและภูมิสารสนเทศ การประยุกต์ใช้ข้อมูลภาพถ่ายจากดาวเทียมเพื่อการบริหารจัดการสถานการณ์สำคัญ
4 ) เป็นองค์กรที่มีเครือข่ายความร่วมมือ/ ให้การสนับสนุนข้อมูลภาพถ่ายจากดาวเทียมและบุคลากรแก่หน่วยงานอื่นๆ เพื่อใช้ประโยชน์ในการบริหารจัดการสถานการณ์ของประเทศอย่างต่อเนื่อง
5 ) เป็นองค์กรที่มีความพร้อมของโครงสร้างพื้นฐานด้านเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศที่ทันสมัย ประกอบด้วย ศูนย์ประกอบและทดสอบดาวเทียมแห่งชาติ ศูนย์ควบคุมและรับสัญญาณดาวเทียม ศูนย์วิจัยเทคโนโลยีอวกาศ ศูนย์ปฏิบัติการความเป็นเลิศและนวัตกรรมการบินและอวกาศ แหล่งเรียนรู้ด้านเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (Space Inspirium) รวมถึงบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญ

ด้านบริหาร

6 ) ผู้บริหารของ GISTDA เป็นที่รู้จักและได้รับการยอมรับจากสังคม
7 ) ผู้บริหารของ GISTDA เป็นบุคคลที่มีวิสัยทัศน์ทางด้านการพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศเพื่อส่งต่อคุณค่าที่เกิดขึ้นให้กับประเทศไทย

ด้านบุคลากร

8 ) บุคลากรของ GISTDA เป็นผู้ที่มีความรู้ความสามารถด้านการสร้างดาวเทียม การวิจัยระบบโลกและอวกาศ การควบคุมและรับสัญญาณดาวเทียม การติดตามและประเมินสถานการณ์ภัยที่เกิดจากเศษชิ้นส่วนจรวด ดาวเทียม หรือสถานีอวกาศกลับสู่โลก การใช้ข้อมูลภาพจากดาวเทียมเพื่อติดตามและประเมินสถานการณ์สำคัญของประเทศ (ไฟป่าหมอกควัน PM2.5 ภัยแล้ง น้ำท่วม ป่าไม้ เกษตร ทะเลและชายฝั่ง)
9 ) บุคลากรของ GISTDA สามารถนำเสนอข้อมูล องค์ความรู้ และเป็นที่ปรึกษาได้เป็นอย่างดี
10 ) บุคลากรของ GISTDA มีผลงานเป็นที่ยอมรับในระดับชาติ
11 ) บุคลากรของ GISTDA มีผลงานเป็นที่ยอมรับในระดับนานาชาติ

ด้านการดำเนินงาน

12 ) ดำเนินการพัฒนาผลิตภัณฑ์และบริการด้านเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศที่สามารถนำไปประยุกต์ใช้/ใช้ได้จริง สอดคล้องกับความต้องการของภาคสังคม
13 ) ดำเนินการพัฒนาผลิตภัณฑ์และบริการด้านเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศที่สามารถนำไปประยุกต์ใช้/ใช้ได้จริง สอดคล้องกับความต้องการของภาคอุตสาหกรรม
14 ) ดำเนินการพัฒนาผลิตภัณฑ์และบริการด้านเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศที่สามารถช่วยลดการพึ่งพาเทคโนโลยีจากต่างประเทศ
15 ) ร่วมมือกับหน่วยงานภายนอก เพื่อการออกแบบ วิจัย สร้างและพัฒนานวัตกรรมใหม่ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อประเทศชาติ

ด้านการถ่ายทอดเทคโนโลยี

16 ) สนับสนุนหน่วยงานจากภาครัฐ ภาคเอกชน และสถาบันการศึกษาในการพัฒนาและต่อยอดการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศสู่การประยุกต์ใช้งานจริง เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานให้แก่หน่วยงานหลักที่เกี่ยวข้อง
17 ) หน่วยงานจากภาครัฐ ภาคเอกชน และสถาบันการศึกษา สามารถนำองค์ความรู้ที่ได้รับจากบุคลากรของ GISTDA ไปต่อยอดสู่การพัฒนา การประยุกต์ใช้ และการผลิตเพื่อประโยชน์ตามภารกิจของแต่ละหน่วยงานได้จริง

ด้านงานพัฒนาทรัพยากรมนุษย์

18 ) พัฒนาเยาวชนและประชาชนที่สนใจให้เกิดการรับรู้และมีขีดความสามารถในการศึกษา ค้นคว้า และพัฒนานวัตกรรมทางด้านเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ
19 ) จัดกิจกรรมฝึกอบรม/ สัมมนาวิชาทางการเพื่อส่งเสริมความรู้ การพัฒนาทักษะด้านเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศที่เป็นประโยชน์

 
 
 

ไม่พลาดข่าวสารกิจกรรมก่อนใคร...สมัครเลย